Skip to content

มาตรฐานระยะทางการติดตั้งและขนาดสัญลักษณ์ ของป้ายไฟทางออกฉุกเฉิน/ป้ายทางหนีไฟ

  • ป้ายทางออกฉุกเฉิน/ป้ายทางหนีไฟด้านบน ลักษณะการติดตั้ง ขอบล่างของป้ายทางออกฯ ควรอยู่สูงจากพื้นประมาณ 2-2.7เมตร ความสูงนอกเหนือจากนี้ สามารถทำได้ตามที่กำหนดในแผนและคู่มือการป้องกันเพลิงไหม้ (fire procedure)
  • ป้ายทางออกฉุกเฉิน/ป้ายทางหนีไฟด้านล่าง อนุญาตให้ใช้เป็นป้ายเสริมเท่านั้น โดยขอบล่างของป้ายสูงจากพื้นที่ 15-20เซนติเมมตร และขอบของป้ายควรอยู่ห่างจากขอบประตูไม่น้อยกว่า 10เซนติเมตร
  • ป้ายทางออกฉุกเฉิน/ป้ายทางหนีไฟฝังพื้น อนุญาตให้เป็นป้ายเสริมเท่านั้น ต้องเป็นชนิดกันน้ำที่มีความแข็งแรง เหมาะสำหรับใช้ในเส้นทางหนีภัย โดยไม่ก่อให้เกิดการสะดุด หรือเป็นอุปสรรคในขณะหนีภัย

ก. การติดตั้งป้ายทางออกฉุกเฉิน ป้ายทางหนีไฟในทางตรง

ข. การติดตั้งป้ายทางออกฉุกเฉิน ป้ายทางหนีไฟ บริเวณทางเลี้ยวและทางแยก

อ้างอิงจาก หนังสือ มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน และโคมไฟป้ายทางออกฉุกเฉิน
ฉบับ แก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 4 
ตุลาคม 2561

บทความใกล้เคียง

ประโยชน์ของโคมไฟฉุกเฉิน และ ป้ายทางออกหนีไฟฉุกเฉิน อ้างอิงจากหลัก วสท.

ว่าด้วยเรื่องความใส่ใจ ผู้ที่มีความรู้เบื้องต้นไม่ว่าจะเป็นวิศวกรไฟฟ้าหรือทำงานในด้านนี้ ย่อมรู้จักกันดีว่าโคมฉุกเฉิน และป้ายทางออกฉุกเฉิน สองสิ่งนี้เป็นอุปกรณ์เซฟตี้

Read More »

วสท. คืออะไร และทำไมต้องอ้างอิงตามมาตรฐาน วสท

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) เป็นสถาบันทางวิชาชีพวิศวกรรม ที่มีความรับผิดชอบต่อวงการวิศวกรรมในประเทศไทยและสอดคล้องกับวิศวกรรมระดับสากล

Read More »

ความส่องสว่างเพื่อการหนีไฟ

มาตรฐานเรื่องค่าของแสง พื้นที่แต่ละพื้นที่ในอาคารจะต้องมีค่าความสว่างเท่าไหร่ตามข้อกำหนด ในกรณีที่ระบบจ่ายไฟฟ้าปกติล้มเหลว ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินต้องให้มีระดับความส่องสว่างขั้นต่ำ เพื่อให้หาทางออกได้อย่างปลอดภัยดังนี้

Read More »

มาตรฐานชนิดและขนาดของสายไฟฟ้าสำหรับโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินต่อพ่วง

มาตรฐานชนิดและขนาดของสายไฟฟ้าสำหรับโคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินต่อพ่วง ใช้สำหรับเดินจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉินส่วนกลางไปยังโคมไฟแสงสว่างฉุกเฉิน ในอาคารใหญ่ อาคารใหญ่พิเศษ หรือ

Read More »